Page 27 - วารสาร อบจ.ชัยภูมิ
P. 27
วันเข้าพรรษา
หมายถึง การอยู่ประจ�าที่ตลอด
สามเดือนฤดูฝนของพระสงฆ์ ประวัติวันเข้าพรรษา
ซึ่งเป็นธรรมเนียมทางพระวินัย
ภิกษุจะไม่เข้าพรรษาไม่ได้ ในเรื่องความเป็นมาของวันเข้าพรรษา ถ้าว่ากันตามประวัติย่อๆ คือ ในยุคต้น
ท่านปรับเป็นอาบัติ และการ พุทธกาล ก็ยังไม่มีการเข้าพรรษา เพราะฉะนั้นตลอดทั้งปี เมื่อพระภิกษุมีความเห็น
ว่าท่านควรจะไปเทศน์ ไปสอนญาติโยมที่ไหนได้ ท่านพอมีเวลา ท่านก็จะไป หรือไม่ได้ไป
เข้าพรรษาจะต้องกล่าวค�าอธิษฐาน เทศน์ไปสอนใคร ถ้าเห็นว่าที่ไหนมันเงียบ มันสงัดดี เหมาะในการที่จะไปบ�าเพ็ญภาวนา
เรียกว่า “อธิษฐานพรรษา” ท�าสมาธิของท่าน ท่านก็จะไป ซึ่งแน่นอน ส่วนมากก็จะอยู่ในเขตที่เป็นป่าเป็นเขา
ไกลๆออกไปจากตัวเมือง หรือว่าต้องผ่านไปในชนบทนั่นเอง
จากการที่ท่านต้องไปอย่างนี้ เนื่องจากในฤดูฝนที่เขาท�าไร่ท�านากันอยู่นั้น บาง
ครั้ง ข้าวกล้าของเขาก็เพิ่งหว่านลงไปในนา มันเพิ่งงอกออกมาใหม่ๆ บางทีก็
ดูเหมือนหญ้าพระภิกษุก็เดินผ่านไป นึกว่ามันเป็นดงหญ้า ก็เลยย�่าข้าวกล้า
ของเขาไป ซึ่งก็ท�าให้ชาวบ้านเดือดร้อน เขาก็มาฟ้องพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ว่าพระไปย�่าข้าวของเขาที่ปลูกเอาไว้ หว่านเอาไว้ นกกาฤดูฝนมันยังอยู่
กับรังของมัน พระท�าไมไม่รู้จักพักบ้าง
เพื่อตัดปัญหานี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็เลยทรงก�าหนดให้พระภิกษุ เมื่อเข้าพรรษา
หรือเมื่อเข้าฤดูฝน ให้พระอยู่กับที่ คือ ตั้งแต่แรม 1 ค�่าเดือน 8 จนกระทั่งขึ้น 15 ค�่า
เดือน11 ให้อยู่เป็นที่เป็นทาง ไม่ไปท�าภาวนาที่ไหน ไม่ไปเทศน์โปรดใคร
ถ้าใครต้องการให้โปรด ก็มาที่วัดก็แล้วกัน มาหาท่าน ไม่ใช่ท่านไปหาเขา
ก�าหนดเป็นอย่างนี้ไป เพื่อตัดปัญหาไม่ให้ใครมาบ่นลูกของพระองค์ได้
แต่อีกมุมมองหนึ่ง พระองค์ทรงถือโอกาสที่เกิดเป็นปัญหานี้ ได้ทรงเปลี่ยน
ค�าครหาให้กลายเป็นโอกาสดีของพระภิกษุว่า ถ้าอย่างนั้นพระภิกษุอยู่เป็น
ที่ในวัดวาอาราม เพื่อที่จะให้พระใหม่ได้รับการอบรมจากพระเก่าได้เต็มที่
เพราะว่าจริงๆ แล้ว ในการอบรมถ่ายทอดศีลธรรม ถ่ายทอดธรรมวินัยให้แก่กัน
และกันนั้น ถ้าท�าอย่างต่อเนื่อง ท�าเป็นที่เป็นทางต่อเนื่องกันทุกวันทุกวัน อย่างนี้
จะเป็นการดี การศึกษาธรรมะอย่างต่อเนื่องมีผลดี
พระภิกษุต้องอยู่วัดช่วงเข้ำพรรษำ
เพราะฉะนั้น พระองค์ก็เลยทรงก�าหนดขึ้นมาว่า ให้พระภิกษุอยู่กับที่ในช่วงเข้าพรรษาอยู่ในวัด แล้วพระใหม่ก็ศึกษาหรือรับการถ่ายทอด
ธรรมะจากพระเก่า ส่วนพระเก่าก็ท�าหน้าที่เป็นครูบาอาจารย์ด้วย คือ สอนพระใหม่
เท่านั้นยังไม่พอ พระเก่าก็วางแผน ก�าหนดแผนการเลยว่าเมื่อออกพรรษาแล้ว ควรจะเดินทางไปโปรดที่ไหน นั่นก็อย่างหนึ่ง อีกทั้ง
ปรับปรุงหลักสูตรวิธีการเทศน์การสอน การอบรมให้เหมาะกับท้องถิ่น ให้เหมาะกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป เป็นต้น /ประวัติวันเข้าพรรษา
ช่วงเข้าพรรษาพระใหม่ก็ศึกษาธรรมะจากพระเก่า
พระเก่าก็ท�าหน้าที่เป็นครูบาอาจารย์สอนพระใหม่
ดังนี้ การเข้าพรรษาจึงเป็นการดีทั้งประชาชน ดีทั้งพระเก่า พระใหม่ ไปในตัวเสร็จ
25
วำรสำรองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดชัยภูมิ
ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษำยน-พฤษภำคม 2565
งานประชาสัมพันธ์ กองยุทธศาสตร์ฯ